ยินดีต้อนรับเข้าสู่ Blogger Geographic Information System : การใช้โปรเเกรม ArcGIS 10 บทที่ 8 การวิเคราะห์เเบบจำลองเวกเตอร์ Vector model
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์

วันพฤหัสบดีที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2557

การใช้โปรเเกรม ArcGIS 10 บทที่ 8 การวิเคราะห์เเบบจำลองเวกเตอร์ Vector model

         

              วิเคราะห์ผลกระทบของเขื่อนป่าสัก ในระยะ 500 เมตร


          ทำการ Merge ชั้นข้อมูลเขตการปกครองเข้าด้วยกัน 

 เปิดชั้นข้อมูลเขตการปกครองทั้งหมด

ใช้คำสั่ง Merge ที่อยู่ใน Geoprocessing

เลือกข้อมูลที่จะทำการรวม เเล้วเลือกโฟเดอร์ที่จะเก็บ จากนั้นตั้งชื่อ Admin  เเละกด OK

ผลลัพธ์ของ การ Merge ชั้นข้อมูลเขตการปกครอง

          การเชื่อมความสัมพันธ์ของตารางข้อมูล เนื่องจากข้อมูลที่ได้ยังไม่ครบ

เปิดไฟล์ข้อมูลตารางที่จะเชื่อมตารางขึ้นมา

เปิดตาราง luprv เพื่อเชื่อมข้อมูลจังหวัดกับ ชั้นข้อมูล Admin

วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ปรากฏว่ามีความสัมพันธ์เเบบ กลุ่มต่อหนึ่ง จึงต้องใช้การรวมเเบบ Join  โดยไปคลิกที่ตารางของชั้นข้อมูลAdmin จากนั้นไปที่ Table Option > Joins add Relates > Join

ช่องเเรกเลือก field ที่เหมือนกัน ช่อง2 เลือกตารางที่เป็นตัวนำมารวมกับข้อมูลข้างต้น ช่องที่ 3 เลือก field ที่เหมือนกัน จากนั้นกด OK

เปิดตาราง luamp เพื่อเชื่อมข้อมูลอำเภอกับ ชั้นข้อมูล Admin

วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ปรากฏว่ามีความสัมพันธ์เเบบ กลุ่มต่อหนึ่ง จึงต้องใช้การรวมเเบบ Join  โดยไปคลิกที่ตารางของชั้นข้อมูลAdmin จากนั้นไปที่ Table Option > Joins add Relates > Join

ช่องเเรกเลือก field ที่เหมือนกัน ช่อง2 เลือกตารางที่เป็นตัวนำมารวมกับข้อมูลข้างต้น ช่องที่ 3 เลือก field ที่เหมือนกัน จากนั้นกด OK

เปิดตาราง lutam เพื่อเชื่อมข้อมูลตำบลกับ ชั้นข้อมูล Admin

วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ปรากฏว่ามีความสัมพันธ์เเบบ หนึ่งต่อหนึ่ง จึงต้องใช้การรวมเเบบ Join  โดยไปคลิกที่ตารางของชั้นข้อมูลAdmin จากนั้นไปที่ Table Option > Joins add Relates > Join

ช่องเเรกเลือก field ที่เหมือนกัน ช่อง2 เลือกตารางที่เป็นตัวนำมารวมกับข้อมูลข้างต้น ช่องที่ 3 เลือก field ที่เหมือนกัน จากนั้นกด OK

ผลลัพธ์การเชื่อมความสัมพันธ์ของตาราง

          การทำ Buffer ขั้นข้อมูลขอบเขตเขื่อนป่าสัก

เปิดชั้นข้อมูลขอบเขตเขื่อน

ไปที่ Geoprocessing > Buffer

ช่อง Input Featuresให้เลือกขอบเขต เขื่อน  ช่อง Output ให้เลือกโฟเดอร์ เเละตั้งชื่อ ช่อง Distance ใส่ระยะทาง 500  หน่วย เมตร จากนั้น กดOK

ผลลัพธ์การทำ Buffer

          ทำการ Clip ชั้นข้อมูล เขตการปกครอง (Admin) กับ ชั้นข้อมูลเขื่อนที่ทำ Buffer (Dam_Buff)

ไปที่ Geoprocessing > Clip

ช่อง Input Featuresให้เลือกขอบเขตพื้นที่  ช่อง Clip Feature เลือกขอบเขตที่ต้องการจะตัด ช่อง Output ให้เลือกโฟเดอร์ เเละตั้งชื่อ จากนั้น กดOK

ผลลัพธ์ การ Clip ชั้นข้อมูล เขตการปกครอง (Admin) กับ ชั้นข้อมูลเขื่อนที่ทำ Buffer (Dam_Buff)

           การ Merge ชั้นข้อมูล Land use

เปิดชั้นข้อมูล Land use ขึ้นมา

ใช้คำสั่ง Merge ที่อยู่ใน Geoprocessing

เลือกข้อมูลที่จะทำการรวม เเล้วเลือกโฟเดอร์ที่จะเก็บ จากนั้นตั้งชื่อ เเละกด OK

ผลลัพธ์ การ Merge ชั้นข้อมูล Land use

          รวมตาราง Lucode กับชั้นข้อมูล Land use เนื่องจากข้อมูลมีไม่ครบ

 เปิดตารางข้อมูล Lucode กับ Land use ขั้นมา

วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ปรากฏว่ามีความสัมพันธ์เเบบ กลุ่มต่อหนึ่ง จึงต้องใช้การรวมเเบบ Join  โดยไปคลิกที่ตารางของชั้นข้อมูลLand use จากนั้นไปที่ Table Option > Joins add Relates > Join

ช่องเเรกเลือก field ที่เหมือนกัน ช่อง2 เลือกตารางที่เป็นตัวนำมารวมกับข้อมูลข้างต้น ช่องที่ 3 เลือก field ที่เหมือนกัน จากนั้นกด OK

          ทำการ Clip ชั้นข้อมูล Land use กับ Dam_Buff 

 ไปที่ Geoprocessing > Clip

ช่อง Input Featuresให้เลือกขอบเขตพื้นที่  ช่อง Clip Feature เลือกขอบเขตที่ต้องการจะตัด ช่อง Output ให้เลือกโฟเดอร์ เเละตั้งชื่อ จากนั้น กดOK

ผลลัพธ์ การ Clip ชั้นข้อมูล Land use กับ Dam_Buff

           การ Union หรือ การรวมข้อมูลทั้งหมดเข้าด้วยกัน ของชั้นข้อมูล  lu_Buff 500 กับ Admin500

 ไปที่ Geoprocessing > Union

ช่อง Input Featuresให้เลือกขอบเขตพื้นที่ที่จะทำการรวมชั้นข้อมูล  ช่อง Output ให้เลือกโฟเดอร์ เเละตั้งชื่อ จากนั้น กดOK

 ผลลัพธ์การ Union หรือ การรวมข้อมูลทั้งหมดเข้าด้วยกัน

          การคำนวนพื้นที่ 

 เปิดตารางข้อมูลขึ้นมา จากนั้นไปที่ Table Option > Add Field

 Field ชื่อ Area  เเบบ ตัวเลขไม่เกิน 20 ตัว ทศนิยมไม่เกิน 2 ตำเเหน่ง  จากนั้นกด OK

คลิกขวาที่ Field ชื่อ Area เลือก Calculate Geometry

เลือก Area จากนั้นกด OK

 ผลลัพธ์ การคำนวนพื้นที่

          การเเสดงผล เเละตาราง 

 เปิด Excel ขึ้นมา  จากนั้น เปิดไฟล์ final.dbf ขึ้นมา

ไปที่ เเทรก > Pivot Table

กด OK

จัดการเลือก Field ข้อมูลที่จะทำการเเสดงตามต้องการ ตามลำดับ

เรียงดำลับตามความเหมาะสม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น