ยินดีต้อนรับเข้าสู่ Blogger Geographic Information System : การใช้โปรเเกรม ArcGIS 10 บทที่ 2 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตาราง (join&relate)
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์

วันศุกร์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2557

การใช้โปรเเกรม ArcGIS 10 บทที่ 2 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตาราง (join&relate)

       

          การรวมตารางความสัมพันธ์เเบบ ONE - TO - ONE

เปิดชั้นข้อมูล2 ข้อมูลที่จะทำการรวมตาราง  ตารางที่1 SOIL_GRP  ตารางที่2 SOILCODE

คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล SOILCODE จากนั้นเลือก Open เพื่อเปิดข้อมูลตาราง

 คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล SOIL_GRP จากนั้นเลือก Open Attribute Table  เพื่อเปิดข้อมูลตาราง

จากนั้นพิจารณาข้อมูลตารางว่ามีความสัมพันธ์กันเเบบไหน ตารางที่1

ตารางที่ 2

ปิดตาราง SOILCODE เนื่องจากจะทำการรวมเข้ากับชั้นข้อมูล SOIL_GRP

จากนั้นทำการรวมตาราง โดยคลิกที่ Table Option > Joins and Relates > Joins

ช่องที่1 เลือก field ที่ จะทำการรวม ช่องที่ 2 เลือกชั้นข้อมูลที่จะทำการรวมตาราง ช่องที่ 3เลือกตารางที่เหมือนกันกับช่องเเรก จากนั้นกด OK

ผลลัพธ์จากการรวมตาราง

 การรวมตารางความสัมพันธ์เเบบ ONE - TO - MANY

เปิดชั้นข้อมูล AMPHOE ขึ้นมา

เปิดชั้นข้อมูล Village_Relate ขึ้นมา

 คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล AMPHOE จากนั้นเลือก Open Attribute Table  เพื่อเปิดข้อมูลตาราง

คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล Village_Relate จากนั้นเลือก Open เพื่อเปิดข้อมูลตาราง

พิจารณาข้อมูลตารางทั้งสองว่ามีความสัมพันธ์เเบบไหน
ตารางที่1

ตารางที่ 2

 ปิดตาราง Village_Relate เนื่องจากจะทำการรวมเข้ากับชั้นข้อมูล AMPHOE

 จากนั้นทำการรวมตาราง โดยคลิกที่ Table Option > Joins and Relates > Relates

ช่องที่1 เลือก field ที่ จะทำการรวม ช่องที่ 2 เลือกชั้นข้อมูลที่จะทำการรวมตาราง ช่องที่ 3เลือกตารางที่เหมือนกันกับช่องเเรก จากนั้นกด OK

ผลลัพธ์จากการรวมตาราง

ซึ่งข้อมูลจะไม่เเสดง โดยให้คลิกไฮไลด์ ดังรูป จากนั้นคลิกที่ Table Option > Related Table > Village_Relate

ผลลัพธ์จากการรวมตารางเเบบ ONE - TO - MANY

 การยกเลิกการรวมตารางความสัมพันธ์

คลิกที่ Table Option > Joins and Relates > Remove Relates

          กระบวนการทางสถิติ (Attribute statistic function)

เปิดข้อมูล AMPHOE ขึ้นมา

คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล AMPHOE จากนั้นเลือก Open Attribute Table  เพื่อเปิดข้อมูลตาราง

เลือก field ที่ต้องการคำนวนทางสถิติ

จากนั้นคลิกขวาที่หัวของ field เลือก Statistic

เลือก field ตามต้องการ เพื่อดูกราฟสิถิติ

           การสร้างกราฟ

ไปที่ เเถบMenu bar เลือก View > Graphs > Create

ช่องที่1 เลือกรูปเเบบของกราฟ  ช่องที่2 เลือกชั้นข้อมูล  ช่องที่3 เลือกfield ที่จะเเสดง จากนั้นกด Next

ช่องที่ 1 เปลี่ยนชื่อหัวเรื่องของกราฟ

 ผลลัพธ์

 สามารถทำการเเก้ไขกราฟได้โดยการ คลิกขวาที่กราฟ เลือก Advanced Properties เเก้ไขตามใจชอบ

ผลจากการเเก้ไขกราฟ

จากนั้น ทำกราฟให้เป็น 3มิติ โดยดับเบิลคลิกที่เเท่งกราฟ เลือก Appearance  ติ๊กเครื่องหมายถูกในช่อง Graph in 3D view > OK

ผลลัพธ์ จากการทำกราฟ 3มิติ

  การ Export กราฟใส่ใน Word  โดยการคลิกขวาที่กราฟ เลือก Export

 เลือก as Bitmap กด Copy จากนั้นไปวางใน Word

ผลลัพธ์การ Export กราฟใส่ใน Word

            การสร้างรายงาน 

ไปที่ เเถบMenu bar เลือก View > Report > Create Report

 เลือกชั้นข้อมูล  ส่วนในช่องใหญ่ ให้เลือก field ที่ต้องการ Report หรือจะเลือกทั้งหมดเลยก็ได้  จากนั้นกด Next

กด Next

กด Next

ช่อง Layer ให้เลือกรูปเเบบการวาง ส่วนช่อง Orientation ให้เลือกรูปเเบบกระดาษ เเนวตั้ง เเนวนอน จากนั้น Next

เลือกรูปเเบบ จากนั้น Next

กด Finish

ผลลัพธ์การสร้างรายงาน

เเก้ไข Report ได้โดยการกด Edit

ผลการเเก้ไข Report

การเซฟ ให้คลิกที่ Save report output to file

พิมพ์ชื่อ จากนั้นกด Save

การนำกราฟไปใส่ใน Layout  โดยการคลิกที่ Add report to ArcMap Layout

เลือก All 1 page กด OK

ผลการนำกราฟไปใส่ใน Layout


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น