ยินดีต้อนรับเข้าสู่ Blogger Geographic Information System : การใช้โปรเเกรม ArcGIS 10 บทที่ 5 การประมาณค่าช่วง (Interpolation)
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์

วันเสาร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2557

การใช้โปรเเกรม ArcGIS 10 บทที่ 5 การประมาณค่าช่วง (Interpolation)


           การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี IDW


 เปิดชั้นข้อมูลจุด ชื่อ SPOT ซึ่งมีค่า Elevation

เปิดชั้นข้อมูลโพลิกอน ชื่อ PROVINCE ซึ่งเป็นขอบเขตจังหวัด

ไปที่ ArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > IDW

ช่อง Input point features ใส่ ชั้นข้อมูล SPOT  ช่อง Z value field ให้ใส่ fieldที่เก็บค่าความสูง คือ Elevation ช่อง Output rasterให้เลือกโฟเดอร์ เเล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่าขนานของ Pixel 40 ก็พอ  จากนั้นกด Environments เพื่อตัดขอบข้อมูล

เลือก  Processing Extent  > ในช่อง Extent  เลือกSame as layer PROVINCE  จากนั้นเลื่อนลง

จากนั้นเลือก  Raster Analysis  >  ตรงช่องMask เลือก PROVINCE ซึ่งเป็นขอบเขตจังหวัดที่จะทำการตัดขอบ จากนั้นกด OK

กด OK

ผลลัพธ์การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี IDW

          การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี Natural Neighbors

ใช้ข้อมูล SPOT เหมือนเดิม ไปที่ ArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > Natural Neighbor

ช่อง Input point features ใส่ ชั้นข้อมูล SPOT  ช่อง Z value field ให้ใส่ fieldที่เก็บค่าความสูง คือ Elevation ช่อง Output rasterให้เลือกโฟเดอร์ เเล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่าขนานของ Pixel 40 ก็พอ  จากนั้นกด Environments เพื่อตัดขอบข้อมูล

เลือก  Processing Extent  > ในช่อง Extent  เลือกSame as layer PROVINCE  จากนั้นเลื่อนลง

จากนั้นเลือก  Raster Analysis  >  ตรงช่องMask เลือก PROVINCE ซึ่งเป็นขอบเขตจังหวัดที่จะทำการตัดขอบ จากนั้นกด OK

กด OK

ผลลัพธ์การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี Natural Neighbors

          การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี Spline

 เเบบที่ 1 REGULARIZED

ใช้ข้อมูล SPOT เหมือนเดิม ไปที่ ArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > Spline

ช่อง Input point features ใส่ ชั้นข้อมูล SPOT  ช่อง Z value field ให้ใส่ fieldที่เก็บค่าความสูง คือ Elevation ช่อง Output rasterให้เลือกโฟเดอร์ เเล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่าขนานของ Pixel 40 ก็พอ ส่วนช่อง Spline type มีให้เลือก2อย่าง ให้เลือก REGULARIZED เพราะมีความราบเรียบกว่า TENSION จากนั้นกด Environments เพื่อตัดขอบข้อมูล

เลือก  Processing Extent  > ในช่อง Extent  เลือกSame as layer PROVINCE  จากนั้นเลื่อนลง

จากนั้นเลือก  Raster Analysis  >  ตรงช่องMask เลือก PROVINCE ซึ่งเป็นขอบเขตจังหวัดที่จะทำการตัดขอบ จากนั้นกด OK

กด OK

ผลลัพธ์การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี Spline   เเบบที่ 1 REGULARIZED

 เเบบที่ 2  TENSION

ใช้ข้อมูล SPOT เหมือนเดิม ไปที่ ArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > Spline

ช่อง Input point features ใส่ ชั้นข้อมูล SPOT  ช่อง Z value field ให้ใส่ fieldที่เก็บค่าความสูง คือ Elevation ช่อง Output rasterให้เลือกโฟเดอร์ เเล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่าขนานของ Pixel 40 ก็พอ ส่วนช่อง Spline type มีให้เลือกของอย่าง ให้เลือก  TENSION จากนั้นกด Environments เพื่อตัดขอบข้อมูล

เลือก  Processing Extent  > ในช่อง Extent  เลือกSame as layer PROVINCE  จากนั้นเลื่อนลง

จากนั้นเลือก  Raster Analysis  >  ตรงช่องMask เลือก PROVINCE ซึ่งเป็นขอบเขตจังหวัดที่จะทำการตัดขอบ จากนั้นกด OK

กด OK

ผลลัพธ์การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี Spline เเบบที่ 2  TENSION

          การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี Kriging
 
ใช้ข้อมูล SPOT เหมือนเดิม ไปที่ ArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > Kriging

ช่อง Input point features ใส่ ชั้นข้อมูล SPOT  ช่อง Z value field ให้ใส่ fieldที่เก็บค่าความสูง คือ Elevation ช่อง Output rasterให้เลือกโฟเดอร์ เเล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่าขนานของ Pixel 40 ก็พอ  จากนั้นกด Environments เพื่อตัดขอบข้อมูล

เลือก  Processing Extent  > ในช่อง Extent  เลือกSame as layer PROVINCE  จากนั้นเลื่อนลง

จากนั้นเลือก  Raster Analysis  >  ตรงช่องMask เลือก PROVINCE ซึ่งเป็นขอบเขตจังหวัดที่จะทำการตัดขอบ จากนั้นกด OK

กด OK

ผลลัพธ์การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี Kriging

           การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี Trend

ใช้ข้อมูล SPOT เหมือนเดิม ไปที่ ArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > Tread

ช่อง Input point features ใส่ ชั้นข้อมูล SPOT  ช่อง Z value field ให้ใส่ fieldที่เก็บค่าความสูง คือ Elevation ช่อง Output rasterให้เลือกโฟเดอร์ เเล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่าขนานของ Pixel 40 ก็พอ  ส่วนช่อง Polynomial order ให้ใส่สมการ พีชคณิต ซึ่งถ้าพื้นที่ราบ ให้ใส่ เเค่ กำลัง1 ถ้าพื้นที่มีความโค้งหนึ่งแห่ง จะใช้สมการพีชคณิตแบบกำลังสอง ถ้าพื้นที่มีความโค้งสองแห่ง จะใช้สมการพีชคณิตแบบกำลังสาม โดยใน ArcGIS Spatial Analyst สามารถประมาณค่าพื้นที่ที่มีความโค้งได้สูงสุด 12 แห่ง จากนั้นกด Environments เพื่อตัดขอบข้อมูล

 เลือก  Processing Extent  > ในช่อง Extent  เลือกSame as layer PROVINCE  จากนั้นเลื่อนลง

จากนั้นเลือก  Raster Analysis  >  ตรงช่องMask เลือก PROVINCE ซึ่งเป็นขอบเขตจังหวัดที่จะทำการตัดขอบ จากนั้นกด OK

กด OK

ผลลัพธ์การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี  Trend

          การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี Topo to Raster

ใช้ข้อมูล SPOT เเละ PROVINCE เหมือนเดิม เเละเปิดชั้นข้อมูล CONTOUR เเละ STREAM ขึ้นมา

ไปที่ ArcToolbox > Spatial Analyst Tools > Interpolation > Topo to Raster

ช่อง Input point features ใส่ ชั้นข้อมูลเเละกำหนดค่าตามรูป   ช่อง Output rasterให้เลือกโฟเดอร์ เเล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่าขนานของ Pixel 40 ก็พอ จากนั้น กด OK

ผลลัพธ์การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี  Topo to Raster

          การสร้าง TIN

 ใช้ข้อมูลเดิม ไปที่ ArcToolbox > 3D Analyst Tools >TIN Management > Create TIN

ช่อง Output ให้เลือกโฟเดอร์ที่จะเก็บ เเล้วตั้งชื่อ ช่อง Input Feature Class ให้ใส่ชั้นข้อมูล เเล้วปรับค่าตามรูป เเล้วติ๊กเครื่องหมายถูกหน้า Constrained Delaunay จากนั้นกด OK

ผลลัพธ์การสร้าง TIN


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น